-

Baffle Effect

RESEARCH & DEVELOPMENT MISCIBLE AGITATOR TESTING CENTER Baffle Effect Testing for Comparison of mixing between baffles and No baffles, Using a Marineporp Dia.490 mm in Newtonian Liquid-Water, The Marineprop Dia.490 mm / Pitch 490 mm / Pitch angle inside 54.8 Degree / Pitch angle inside 17.65 Degree / Blades wide outside 206.09 mm / Blades wide outside 101.71 mm / Blade radius outside 245 mm / High Different outside 64.52 mm / High Different outside 83.12 mm, and Baffle Plate = D/14, This test to study the Reynolds Number and Streamline 6-STEP FOR AGITATOR DESIGN STANDARD (Step-1) : Volume Calculation Tank Diameter = 1400 mm Shell = 1550 mm Total/Working Volume = 2,500/1,000 Liters (Step-2) : Impeller Selection Impeller : Marineprop No. of Stages Design : 1 Stage d/D Design : 0.35 Baffle Plate : BW1/14 (Step-3) : Tip Speed Design Degree of Mixing : Medium Mixing Tip Speed Design : 1.79 m/sec Calculation Impeller Speed = 70 RPM Calculation Dia.of Impeller = 490 mm (Step-4) : Power Absorb Calculation Power Calculation 0.018/0.12 kW Ne Number : 0.316 Torque : 2.45 Nm Specific Power 0.01 kW/m^3 (Step-5) : Shaft Calculation Design Shaft Type : Solid Shaft Diameter : 70 mm Shaft Length : 1,600 mm Steady Bearing Design : None Staring Torque : 32.74 Nm Overhung Load : 24.82 N Bending Moment : 37.23 Nm Bending Tension : 11.27 kp/cm^2 Torsion Tension : 4.96 kp/cm^2 Comparesion Tension : 12.77 kp/cm^2 (Step-6) : Hydraulic Data Calculation Reynolds Number : 2.8 e+5 Pumping Capacity : 388 m^3/Hr P-Number : 91.77 Quality Number : 70.01 Velocity Gradient : 135.9 1/sec จากการทดสอบเราคงได้เห็น Streamline ที่ชัดเจนแล้วนะครับ, เป็นอย่างไรบ้างครับ สวยเหมือนในกราฟฟิคที่เคยเห็นมาในอินเตอร์เน็ต หรือ ใน CFD หรือไม่ครับ, ไม่เหมือนนะครับ, อาจจะคล้ายอยู่บ้างในคลิปที่ไม่มี Baffle Plate, หากเรา เน้นไปที่คลิปทดสอบกับ Baffle Plate ครับ เราจะเห็นลักษณะ Axial Flow Pattern ที่ชัดเจนมากกว่าคลิปไม่มี Baffle, อีกทั้งยังเห็น Fluid Shear ซึ่งมีขนาดวงเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของใบกวนด้วย, เช่นเคยครับ คลิปการทดสอบที่เห็นมีค่า Reynolds Number ที่แสดงความปั่นป่วนเท่ากัน ในภาคคำนวณ แต่ของจริงไม่เท่ากัน (อีกแล้ว), คำถามเดิมคือ Reynolds เป็นของคลิปไหน ตอบคือ เป็นของทั้งสองคลิปเช่นเดิมครับ, เมื่อเราเห็น CFD ที่แสดงออกมาเป็น Velocity(m/s) หรือ แสดงเป็น Reynolds Number ที่ค่าเท่านั้นเท่านี้ แล้วท่านรู้หรอครับว่าความปั่นป่วนมันอยู่ระดับไหน, ประเด็นไม่ได้อยู่ที่ว่า CFD เชื่อได้หรือไม่ (เชื่อได้ระดับนึง), ประเด็นอยู่ที่ว่า ท่านนึกออกหรือไม่ว่าระดับความปั่นป่วนมันแค่ไหนต่างหาก, ใบกวนที่ผมนำมาทดสอบก็ผ่านการคำนวณนะครับ ซึ่งรายการคำนวณอยู่ด้านบน, คำนวณแม้กระทั้งหน้าตัดใบ มุมบิด มุมเอียงใบ เราถึงได้เห็นการหมุนวนในลักษณะการผสมของใบกวนแบบ Marineprop ที่ Tip Speed เพียงแค่ 1.8 m/sec ไงละครับ, สุดท้ายคือ เราได้ประโยชน์อะไรจากการทดสอบครั้งนี้ คำตอบคือ ได้เห็น Aixal Flow Pattern ของจริง, ได้เห็น Fluid Shear ของจริง MISCIBLE TECHNOLOGY CO.,LTD Line : @agitator Email : miscible@miscible.co.th Tel : 091.7400.555 www.miscible.co.th

Next
-

Dissolution of solids in Liquid without reaction.

RESEARCH & DEVELOPMENT MISCIBLE AGITATOR TESTING CENTER Dissolution of solids in Liquid without reaction. [MixBeam] ..... [Saw Disc] [Jetcone] ..... [Viscrop.2B] จุดประสงค์ของการทดลอง คือ ศึกษาว่าชนิดของใบกวนมีผลต่องาน Dissolution of solids in Liquid without reaction หรือไม่ อุปกรณ์ในการทดลอง (1). Tank Dia. 200 mm x SH. 300 mm (2). Liquid level. 250 mm โดยใช้ของเหลว คือ น้ำ (3). Volume of Solid (Salt) ตวงเกลือใส่ภาชนะขนาด Dia. 50 mm x SH. 40 mm ขั้นตอนการทดลอง (1). ทดสอบใบกวนกับน้ำเปล่าก่อนทำการทดสอบจริงเพื่อกำหนดให้ Reynolds in Actual (เป็นคำที่ผมใช้เรียก) มีค่าเท่ากัน โดย Reynolds in Actual นั้น ผมถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งยวดในการทำงานจริงๆ เนื่องจากทางทฤษฏีแล้วการหา Reynold เพื่อกำหนดค่าความปั่นป่วนใช้ characteristic length สำคัญเฉพาะ Dia.of Impeller เท่านั้น ซึ่งจริงๆแล้วมี characteristic length อื่นที่ต้องคิดมากมายทำให้ค่า Re ทางทฤษฏีนั้นเป็นเรื่องซับซ้อนและเข้าใจยากสักหน่อยสำหรับงานด้าน Fluid Mixing เว้นแต่จะเจองานจริงๆมาเยอะถึงจะเข้าใจได้ว่า characteristic length มีผลต่อ Reynolds in Actual แบบไหนอย่างไร (2). จากข้อหนึ่งผมต้องทดสอบเพื่อให้ใบกวนแต่ละชนิดสร้าง Vortex Deepness ที่เท่ากันคือ 80 mm จาก Top liquid level ด้วยเหตุผลที่ใบกวนแต่ละใบนั้นมีพฤติกรรมต่างกันหากนำมาทดสอบโดยใช้ความเร็วรอบที่เท่ากันนั้นไม่ได้เลยครับ และจากการควบคุม Reynolds in Actual ผ่านทางการปรับ Vortex Deepness ให้เท่ากันแล้ว ผมก็ได้ Output Speed ออกมา คือ [MixBeam = 300 RPM] [Saw Disc = 570RPM] [Jetcone = 450RPM] [Viscrop.2B = 360RPM] (3). Dia.of Impeller คือ [MixBeam = 140mm] [Saw Disc = 80mm] [Jetcone = 100mm] [Viscrop.2B = 120mm] (4). เทเกลือลงไปก่อนเริ่มเดินใบกวนตามความเร็วรอบต่างๆที่ตั้งค่าไว้โดยใช้ Inverter ในการควบคุม (5). เริ่มเดินใบกวนตามรอบที่กำหนดจากข้อ.2 โดยใช้เวลาในการทำงาน 30 วินาที และ หยุดการทำงานของใบกวน สรุปผลการทดสอบ (1). Solid ที่เติมลงไปในปริมาณที่เท่ากันส่งผลต่อระยะเวลาในการสร้าง Vortex Deeepness ที่ทดสอบไว้ก่อนเริ่มในระดับที่ต่างกัน (2). ปริมาณเกลือที่เหลืออยู่หลังหยุดเดินใบกวนนั้นมีปริมาณที่ใกล้เคียงกัน (3). ค่า Reynolds in Actual ที่เซ็ทไว้ที่ระดับเท่ากันส่งผลให้ได้อัตราการละลายที่ใกล้เคียงกัน หรือ อาจจะกล่าวได้ว่าเท่ากัน (4). ชนิดของใบกวนมีผลต่ออัตราการละลายแน่นอน, หากเราดูจากสิ่งที่ผมทดสอบเผินๆจะเห็นว่าใบกวนทั้งสี่ชนิดให้อัตราการละลายเท่ากัน แต่จริงๆแล้วนั้นไม่ถูกต้องซะทีเดียวครับ เนื่องจากผมกำหนดให้ใบกวนทำงานที่ระดับ Reynolds in Actual เดียวกัน ซึ่งแน่นอนว่า Power Absorb ที่ใช้ในการสร้างความปั่นป่วนในระดับที่ละลายเกลือได้แค่นี้ ในค่าที่ต่างกัน และส่งผลให้การสร้าง Agitator จริงนั้นมีอุปกรณ์ทาง Mechanic ที่ต่างกันอีก (5). เราไม่อาจจะเลือกใช้ใบกวนชนิดไหนก็ได้มาแทนกันแล้วปรับให้อัตราการละลายได้ในอัตราที่เท่ากัน ถึงแม้เราจะได้ผลการทดสอบ Reynolds in Actual ต่อระบบที่รู้แน่ชัดว่าอัตราการละลายจะใช้เวลาเท่านั้นเท่านี้ (6). หากจะเลือกใช้ใบกวนสักใบจากผลการทดลองนี้ผมจะเลือกใบกวน Viscrop.2B ครับ เนื่องจาก ความเร็วรอบที่ Reynolds in Actual ที่ได้นั้นเหมาะและตรงกับพฤติกรรมของใบกวนมากที่สุดและส่งผลให้ได้ Power Absorb น้อยที่สุดเช่นกัน, และใบกวน MixBeam เป็นใบกวนทางเลือกลำดับสอง, ส่วนใบกวนที่เหลือนั้น ไม่สามารถใช้งานได้ครับ Thank You Mr.Sataporn Liengsirikul (Agitator Designer) ID Line : sataporn.apl Miscible Technology Co., Ltd www.miscible.co.th

Next
-

Dissolution of solids in Liquid without reaction..(2)

RESEARCH & DEVELOPMENT MISCIBLE AGITATOR TESTING CENTER Dissolution of solids in Liquid without reaction..(2) [Flatblade.T+Flatblade.U] [Flatblade.T+Flatblade.U+Flodblade] [Viscrop.4B] [Viscrop.4B with Baffle Plate] จุดประสงค์ของการทดลอง คือ เพื่อศึกษาว่า Multi Stages Impeller และ Baffle Plate มีผลต่องาน Dissolution of solids in Liquid without reaction หรือไม่ อุปกรณ์ในการทดลอง (1). Tank Dia. 200 mm x SH. 300 mm (2). Liquid level. 250 mm โดยใช้ของเหลว คือ น้ำ (3). Volume of Solid (Salt) ตวงเกลือใส่ภาชนะขนาด Dia. 50 mm x SH. 40 mm ขั้นตอนการทดลอง (1). ทดสอบใบกวนกับน้ำเปล่าก่อนทำการทดสอบจริงเพื่อกำหนดให้ Reynolds in Actual (เป็นคำที่ผมใช้เรียก) มีค่าเท่ากัน โดย Reynolds in Actual นั้น ผมถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งยวดในการทำงานจริงๆ เนื่องจากทางทฤษฏีแล้วการหา Reynold เพื่อกำหนดค่าความปั่นป่วนใช้ characteristic length สำคัญเฉพาะ Dia.of Impeller เท่านั้น ซึ่งจริงๆแล้วมี characteristic length อื่นที่ต้องคิดมากมายทำให้ค่า Re ทางทฤษฏีนั้นเป็นเรื่องซับซ้อนและเข้าใจยากสักหน่อยสำหรับงานด้าน Fluid Mixing เว้นแต่จะเจองานจริงๆมาเยอะถึงจะเข้าใจได้ว่า characteristic length มีผลต่อ Reynolds in Actual แบบไหนอย่างไร (2). จากข้อหนึ่งผมต้องทดสอบเพื่อให้ใบกวนแต่ละชนิดสร้าง Vortex Deepness ที่เท่ากันคือ 80 mm จาก Top liquid level ด้วยเหตุผลที่ใบกวนแต่ละใบนั้นมีพฤติกรรมต่างกันหากนำมาทดสอบโดยใช้ความเร็วรอบที่เท่ากันนั้นไม่ได้เลยครับ และจากการควบคุม Reynolds in Actual ผ่านทางการปรับ Vortex Deepness ให้เท่ากันแล้ว ผมก็ได้ Output Speed ออกมา คือ [Flatblade.T+Flatblade.U = 390 RPM] [Flatblade.T+Flatblade.U+Flodblade = 360RPM] [Viscrop.4B = 295RPM] [Viscrop.4B with Baffle Plate = 295RPM] (3). Dia.of Impeller คือ [Flatblade.T+Flatblade.U = 70mm] [Flatblade.T+Flatblade.U+Flodblade = 70mm] [Viscrop.4B = 120mm] [Viscrop.4B with Baffle Plate = 120mm] (4). เทเกลือลงไปก่อนเริ่มเดินใบกวนตามความเร็วรอบต่างๆที่ตั้งค่าไว้โดยใช้ Inverter ในการควบคุม (5). เริ่มเดินใบกวนตามรอบที่กำหนดจากข้อ.2 โดยใช้เวลาในการทำงาน 30 วินาที และ หยุดการทำงานของใบกวน สรุปผลการทดสอบ (1). จาก 2 คลิปด้านบนนั้น Multi Stages of Impeller ไม่มีผลต่ออัตราการละลายที่เร็วขึ้น ในเมื่อ Reynolds in Actual ยังเท่าเดิม (คือผมทดลองให้ Reynolds in Actual เท่ากับการทดลองคราวก่อนด้วยเช่นกัน) (2). ปริมาณเกลือที่เหลืออยู่หลังหยุดเดินใบกวนนั้นมีปริมาณที่ใกล้เคียงกัน แต่จะเห็นว่าใบกวนในคลิป Flatblade.T+Flatblade.U+Flodblade นั้นมีอัตราการละลายที่ต่ำกว่าทุกคลิป (3). จากข้อ.2 ค่า Reynolds in Actual จะลดลงเนื่องจากการมีใบกวน 3 Stages นั้นจะไปทำให้ Reynolds in Actual ลดลงส่งผลให้อัตราการละลายต่ำลงกว่าคลิปอื่นๆ (4). ผมลองใช้ใบกวนที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Viscrop.4B เพื่อหวังว่าชนิดของใบกวนนี้จะทำให้อัตราการละลายดีขึ้น เนื่องจากมี Flow Pattern ที่ดีเยี่ยม (แต่ Reynolds in Actual ยังเท่าเดิม) ผลก็คืออัตราการละลายเท่าเดิม (5). ผมลองทดสอบ Off Center และ มี Baffle Plate เพื่อให้ Flow Pattern นั้นมีการผสมแบบสมบูรณ์ที่สุด ลด Vortex ลด Dead Zone of Mixing แต่อัตราการละลายก็ไม่ได้ลดลงอย่างมีนัยยะ (6). ข้อสรุปสุดท้ายจากการทดสอบมา 2 ครั้ง คือ Reynolds in Actual นั้นสำคัญที่สุด และเป็นตัวบ่งบอกอัตราการละลายได้ดีที่สุด (7). เราไม่อาจจะสรุปงาน Dissolution of solids in Liquid without reaction ได้จากสูตรการคำนวณ และ ผลของการคำนวณเพียงอย่างเดียว Thank You Mr.Sataporn Liengsirikul (Agitator Designer) ID Line : sataporn.apl Miscible Technology Co., Ltd www.miscible.co.th

Next
-

Comparesion Dead Zone of Mixing

บริษัท มิสซิเบิล เทคโนโลยี จำกัด อันดับ 1 ด้านงานออกแบบ Agitator, ผู้ออกแบบ ผลิต ติดตั้ง เครื่องกวน เครื่องผสม ถังแสตนเลส ถังเหล็ก สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท อาทิเช่น เครื่องกวนสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมผลิตสี, เครื่องกวนขนาดใหญ่สำหรับโรงงานอุตสาหกรรมแป้งมันสัมปะหลัง, เครื่องกวนขนาดใหญ่สำหรับถังเก็บ Slurry, ออกแบบผลิต เครื่องกวนขนาดกลาง และ เครื่องกวนขนาดเล็ก, ทั้งนี้ยังมีเครื่องกวนเอนกประสงค์อีกหลายประเภท เช่น เครื่องผสมแบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable Mixer) เครื่องผสมแบบยกขึ้นลงได้ด้วยมือหมุน (Up/down Mixer) เครื่องผสมแบบยกขึ้นลงได้ด้วยกระบอกไฮดรอลิกส์ (Up/Down Mixer with Hydraulic) เครื่องผสมที่ใช้มอเตอร์ลม (Air Mixer) , ถังผสมหลากหลายประเภท, Miscible Technology Co.,Ltd, Agitator Design, MISCIBLE Agitator, MISCIBLE Agitator, ออกแบบ Agitator, ออกแบบเครื่องกวน, เครื่องผสม, เครื่องปั่น, เครื่องปั่นละเอียด, เครื่องปั่นกวน, ชนิดของใบกวน, ใบกวนสี, ใบปั่น, ถังกวน, ถังปั่น, เครื่องผสมสี, เครื่องตีสี, เครื่องกวนขนาดใหญ่, เครื่องกวนในโรงงานอุตสาหกรรม, เครื่องกวนขนาดเล็ก, เครื่องกวนที่ใช้มอเตอร์ลม, ถังแสตนเลส, ถังเหล็ก, ถังผสม, ถังเคลื่อนย้ายได้, ใบกวน, ใบผสม, Agitator, Mixer, Emulsifier, High Shear mixer, High Speed Disperser, Despa, Homogenizer, Air Mixer, Up/Down Mixer, Stand Mixer, High Viscosity Mixer, Co-Axial Mixer, Co-Axial Disperser, Large Agitator, Industrial Agitator, Small Mixer, Impeller Design, Agitator Design, Mixer Design, Stainless Steel Tank, Steel Tank, Mixing Tank, Steam Jacket Tank, Haft Pipe Tank, Haft Coil Tank, Mobile Tank, Moving Tank, Mobile Jacket Tank, Jacket Tank, Plat form, Partable Mixer, Up/Down Mixer, ออกแบบ ผลิต เครื่องผสม, ออกแบบ ผลิต เครื่องกวน, เครื่องกวนสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม, เครื่องกวนทั่วไป, เครื่องผสมทั่วไป, การคำนวนเครื่องกวน, การคำนวนใบกวน, ใบกวนขนาดใหญ่, ใบกวนชนิดต่างๆ

Next